โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยไร่

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยไร่ ตำบลห้วยไร่ อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ โทร 086-4603118 ,044- 810369 huyrai2@hotmail.com , num.nb@hotmail.com facebook.huyraihospital@hotmail.com







นวตกรรมได้รับการถ่่ายทอดทางทีวีช่อง5 วันเสาร์ที่25กันยายน 2553 เวลา 12.22-12.25น.

งานรณรงค์คนคอนสวรรค์ไม่กินปลาดิบ 7 มกราคม 2556 ถ่ายทางช่อง 3 ข่าวนอกลู่


นวตกรรมได้รับการถ่่ายทอดทางทีวีช่อง5 วันเสาร์ที่25กันยายน 2553 เวลา 12.22-12.25น.

เจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยไร่



นางสุวรรณเพ็ญ หงษ์สระแก้ว
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล







นางบุปผา แก่นชัยภูมิ Mrs. BUPPHA KAENCHAIYAPHUM
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
เวชปฏิบัติ





นางกิ่งกาญจน์ ทิพอาศน์
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
เวชปฏิบัติ





นางสุณี เชยชัยภูมิ
เจ้าพนักงานสาํธารณสุขชำนาญงาน





เกรียงศักดิ์ กองเงินนอก
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

ประมาลภาพพิธีเปิดป้าย รพ.สต.ห้วยไร่ 29 มีนาคม 2554

สรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 / 2556


เอกสารสรุปผลการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยไร่
ตำบลห้วยไร่   อำเภอคอนสวรรค์   จังหวัดชัยภูมิ
คปสอ.คอนสวรรค์ ครั้งที่ 1 / ๒๕๕๖
     วันที่   ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๕
ข้อมูลทั่วไป

1.      ประชากร  หลังคาเรือน  และการปกครอง

ข้อมูลประชากร
   .จำนวนหมู่บ้าน       ๑๔   หมู่             ๑,๓๑๗          หลังคาเรือน
                    .จำนวนประชากร          ชาย        ๒,๙๘๔     คน
         หญิง        ๒,๘๙๒     คน
                              รวม        ๕,๘๗๖  คน


หมู่ที่
บ้าน
หลังคาเรือน
จำนวนประชากร
รวม
ชาย
หญิง
ห้วยไร่
๙๔
๑๙๗
๑๙๘
๓๙๕
หนองไฮ
๑๕๗
๓๔๗
๓๔๒
๖๘๙
โคกสง่า
๑๑๙
๒๕๐
๒๔๙
๔๙๙
หลุบเพ็ก
๙๙
๑๘๘
๑๓๑
๓๑๙
โสกมูลนาค
๒๑๗
๕๓๕
๕๑๓
๑๐๔๘
โคกไม้งาม
๖๙
๑๔๙
๑๕๔
๓๐๓
ห้วยยาง
๑๔๔
๓๖๙
๓๔๕
๗๑๔
ดงเย็น
๙๓
๒๐๐
๒๐๗
๔๐๗
ซับม่วงไข่
๕๗
๑๒๗
๑๔๙
๒๗๙
๑๐
ซับทอง
๔๖
๑๐๐
๙๗
๑๙๗
๑๑
ประชาแสนสุข
๓๔
๗๖
๗๒
๑๔๘
๑๒
ห้วยยาง
๘๒
๒๑๗
๒๐๕
๔๒๒
๑๓
ซับผักกูด
๗๒
๑๔๑
๑๔๙
๒๙๐
๑๔
ซับสมบูรณ์
๓๔
๘๘
๘๑
๑๖๙

รวม
๑,๓๑๔
๒,๙๘๔
๒,๘๙๒
๕,๘๗๖




2.      โครงสร้างประชากร (ปิรามิดประชากร)
ตารางที่ ๑ แสดงจำนวนหลังคาเรือนและประชากรแยกตามเพศ ตำบลห้วยไร่ ปี ๒๕๕๖
กลุ่มอายุ
ชาย
หญิง
รวม
% ชาย
% หญิง
๐๐-๐๔
๑๒๗
๑๑๖
๒๔๓
๒.๑๖
๑.๙๗
๐๕-๐๙
๑๕๓
๑๖๕
๓๑๘
๒.๖๐
๒.๘๑
๑๐-๑๔
๑๖๙
๑๘๕
๓๕๔
๒.๘๘
๓.๑๕
๑๕-๑๙
๒๐๓
๑๘๘
๓๙๑
๓.๔๕
๓.๒๐
๒๐-๒๔
๒๑๐
๒๔๐
๔๕๐
๓.๕๗
๔.๐๘
๒๕-๒๙
๒๓๐
๒๔๙
๔๗๙
๓.๙๑
๔.๒๔
๓๐-๓๔
๒๓๐
๒๓๖
๔๖๖
๓.๙๑
๔.๐๒
๓๕-๓๙
๒๕๔
๒๔๒
๔๙๖
๔.๓๒
๔.๑๒
๔๐-๔๔
๒๕๕
๒๙๐
๕๔๕
๔.๓๔
๔.๙๔
๔๕-๔๙
๒๗๐
๒๗๔
๕๔๔
๔.๕๙
๔.๖๖
๕๐-๕๔
๒๓๕
๑๙๕
๔๓๐
๔.๐๐
๓.๓๒
๕๕-๕๙
๑๖๗
๑๘๐
๓๔๗
๒.๘๔
๓.๐๖
๖๐-๖๔
๑๑๓
๑๒๐
๒๓๓
๑.๙๒
๒.๐๔
๖๕-๖๙
๑๐๗
๙๙
๒๐๖
๑.๘๒
๑.๖๘
๗๐-๗๔
๗๑
๗๓
๑๔๔
๑.๒๑
๑.๒๔
๗๕-๗๙
๕๓
๖๘
๑๒๑
๐.๙๐
๑.๑๖
๘๐+
๕๔
๕๕
๑๐๙
๐.๙๒
๐.๙๔
รวม
,๙๐๑
,๙๗๕
,๘๗๖
๔๙.๓๗
๕๐.๖๓
ที่มา : ประชาการกลางปี จาก HOSXP_PCU  เดือน  กรกฎาคม ๒๕๕๕

การปกครอง
                   ตำบลห้วยไร่  อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยไร่  แบ่งเขตการปกครองเป็น  ๑๔ หมู่บ้าน  อยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยไร่  จำนวน  ๑๔ หมู่บ้าน
สภาพทางสังคม
สภาพสังคมอยู่ร่วมกันเป็นคุ้มเป็นหมู่บ้าน ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมและประเพณีไทยภาคอีสาน

. สถานการณ์การเงินของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยไร่
ตารางที่ ๒ สถานการณ์การเงินของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยไร่

ลำดับ
รายการ
เงินสด
ฝากบัญชีธนาคาร UC
ฝากบัญชีธนาคาร อื่นๆ
ลูกหนี้เงินยืม - UC
เงินฝาก
ธ.กรุงไทย
รวม
(บาท)


2,343.95


223,875.72

-

24,300

8,877.44

259,397.11

ข้อมูล  ณ  20 มีนาคม 2556
๔.ข้อมูล สถานะสุขภาพ ประกอบด้วย
ตารางที่ ๓ การมีหลักประกันสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยไร่

การมีหลักประกันสุขภาพ

จำนวน (คน)

๑. ประชากรตามทะเบียนราษฎร์ (คน)

5,497

๒. เป้าหมายขึ้นทะเบียน

๔,๓30

๓. ผู้มีหลักประกันสุขภาพบัตรทอง (คน)

๔,๓23

๔. ค่าว่าง

7

ร้อยละของความครอบคลุมบัตรทอง

๙๙.84

๕. บัตรประกันสังคม

716

๖. สิทธิข้าราชการ

96

๗. สิทธิอื่น ๆ

21










ข้อมูลการขึ้นทะเบียนสิทธิ์หลักประกันสุขภาพ  (ณ วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖)



ตารางที่ ๔   แสดงจำนวนผู้ป่วยที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ปี ๒๕๕๔ ตำบลห้วยไร่
                  ระหว่างวันที่ ๑ ม.ค.๒๕๕๔ ถึง ๓๑ธ.ค.๒๕๕๕ ต.ห้วยไร่ อ.คอนสวรรค์ จ.ชัยภูมิ
โรค
จำนวนป่วย(ราย)   
อัตราป่วย/๑๐๐,๐๐๐
จำนวนตาย(ราย)
อัตราตาย/๑๐๐,๐๐๐
อัตราป่วยตายร้อยละ
จำนวนประชากรกลางปี๒๕๕๓
02.Diarrhoea
120
,๑๓๙.๘๐
๐.๐๐
๐.๐๐
,๖๐๘
18.Pyrexia
45
๘๐๒.๔๓
๐.๐๐
๐.๐๐

  D.H.F,Total
7
๑๒๔.๘๒
๐.๐๐
๐.๐๐

14.H.conjunctivitis
7
๑๒๔.๘๒
๐.๐๐
๐.๐๐

31.Pneumonia
6
๑๐๖.๙๙
๐.๐๐
๐.๐๐

ที่มา รง.๕๐๖ ศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอคอนสวรรค์ ( ม.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๕ )         
         

   ปัญหาสุขภาพที่สำคัญในพื้นที่
    ปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพในตำบลห้วยไร่
. การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
.การเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น ไข้เลือดออก วัณโรค
.พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนไม่เหมาะสม
.พฤติกรรมการออกกำลังกายไม่สม่ำเสมอ
.การดูแลสุขภาพของตนเอง
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ
          ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพในเขตตำบลห้วยไร่ ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องได้แก่
.การบริโภคอาหาร เช่น การรับประทานอาหารไม่ครบส่วน และไม่ถูกหลักโภชนาการ
.การใช้ยาไม่ถูกต้อง เช่น การรับประทานอาหารไม่เป็นไปตามแผนการรักษา มีการซื้อยากินเองตามโฆษณาในท้องตลาด
.การใช้สารเคมีในกลุ่มเกษตรกร ในกลุ่มปลูกพุทรา กลุ่มปลูกมะลิ กลุ่มปลูกอ้อย
.พฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุจากการขนส่ง และจากการประกอบอาชีพ เช่น การสวมหมวกนิรภัย ไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร
.พฤติกรรมการบริโภคยาสูบในกลุ่มผู้สูงอายุ
.พฤติกรรมการออกกำลังกายที่ไม่สม่ำเสมอ


๗. การจำแนกประเภทกลุ่มผู้รับบริการ
ตารางที่  ๖   จำนวนลุ่มภาวะเสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวน (คน)
ชาย
หญิง
รวม
 . อายุต่ำกว่า ๑ ปี
๑๔
๑๐
๒๔
 .อายุ ๐-๕ ปี
๑๕๖
๑๔๐
๓๑๙
 .อายุ ๐-๑๒ ปี
๔๒๖
๔๐๗
๘๓๓
 .อายุ ๕-๑๔ ปี
๓๔๙
๓๖๐
๗๐๙
 .อายุ ๑๕-๔๕ ปี(หญิง)
๑๕๐๗
๑๕๐๒
๓๐๐๙
 . อายุ MWRA(หญิง)วัยเจริญพันธ์คู่)
๑๐๗๓
๑๐๗๓
 . อายุ ๓๕ ปีขึ้นไป
๑๕๙๔
๑๕๘๗
๓๑๘๑
 ๘. ผู้พิการ
๖๖
๔๖
๑๑๒
 ๙.ผู้สูงอายุ
๓๖๗
๔๐๒
๗๖๙
๑๐. ผู้ป่วยเรื้อรัง
๑๐๒
๒๒๑
๓๒๒

ที่มา : ประชาการกลางปี จาก HOSXP_PCU  เดือน กรกฏคม ๒๕๕๕













ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดปีงบประมาณ ๒๕๕๕
การตรวจราชการและนิเทศงาน ปี 2556 2 ภารกิจ5 ประเด็นหลัก 18 หัวข้อ 49 ตัวชี้วัด

ประเด็นที่ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน  ควบคุมโรค
ตัวชี้วัด กระทรวง
เป้าหมาย
ผลงาน
ร้อยละ
1) ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่า 60
48
4
8.33
2) ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า 90
48
36
75.00
3) ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน เท่ากับ 100
48
48
100.00
4) ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า 65
48
19
39.58
5) ร้อยละของเด็กตั้งแต่ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนแรก มีค่าเฉลี่ย กินนมแม่อย่างเดียวไม่น้อยกว่า 50
34
39
114.71
6) ร้อยละของเด็ก 0-2 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า 90 (ยกเว้นวัคซีนMMR ไม่น้อยกว่า 95)
152
132
86.84
7) ร้อยละของเด็ก 0-2 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนไม่น้อยกว่า 70
152
148
97.37
8) ร้อยละของเด็ก 0-2 ปีได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย ไม่น้อยกว่า 80
152
148
97.37
9) ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด (ไม่น้อยกว่า 95)
41
39
95.12
10)ร้อยละของบริการ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70)
48
36
75.00











หัวข้อ2.การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค กลุ่มเด็กปฐมวัย

ตัวชี้วัด กระทรวง
เป้าหมาย
ผลงาน
ร้อยละ
1) ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า 90
123
98
79.67
2) ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่า 70
123
108
87.80
3) ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย ไม่น้อยกว่า 80
123
108
87.80
4) ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจช่องปากและผู้ดูแลได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันไม่น้อยกว่า 70 และได้รับ Fluorine vanish ไม่น้อยกว่า 50
152
132
86.84
5)ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัน(ไม่น้อยกว่า 85)
275
256
93.09
6) ร้อยละของเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ (ไม่เกิน 57)
31
20
64.52
7)ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก (ไม่น้อยกว่า 70)
1
1
100.00

หัวข้อ3.การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคกลุ่มเด็กวัยรุ่นวัยเรียน
ตัวชี้วัด กระทรวง
เป้าหมาย
ผลงาน
ร้อยละ
1) ร้อยละของเด็ก 6-12 ปี ได้รับวัคซีนกระตุ้นทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า 90 (ยกเว้นวัคซีน MMR ป.1 และวัคซีน dT ป.6 ไม่น้อยกว่า 95)
517
468
90.52
2) ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการตรวจช่องปาก ไม่น้อยกว่า 85 และเคลือบหลุมร่องฟันไม่น้อยกว่า 30
46
46
100.00
5) ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-12 ปี) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า70)
517
462
89.36








หัวข้อ4.การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค กลุ่มวัยทำงาน
ตัวชี้วัด กระทรวง
เป้าหมาย
ผลงาน
ร้อยละ
1) ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธ์ที่อยู่กินกับสามี ได้รับบริการวางแผนครอบครัวทุกประเภทไม่น้อยกว่า 80
1,549
1,549
100.00
2) ร้อยละของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดัน เท่ากับ 90
5,043
4,555
90.32
3) ร้อยละของสตรี 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก สะสมถึงปี 2557ไม่น้อยกว่า 80
1,195
734
61.42
4) ร้อยละของสตรี 30-60ปี มีการตรวจเต้านมด้วยตัวเอง ไม่น้อยกว่า 80
1,464
1,332
90.99
5) ร้อยละของประชาชนเป้าหมายได้รับการฉีดวัคซีนกระตุ้นครบตามเกณฑ์มากกว่า 90
-
-
-
6) สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกระยะที่ 1 และ 2 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ70)
-
-
-
7)ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (ไม่น้อยกว่า 50)
190
102
53.68
8)ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (ไม่น้อยกว่า 40)
136
126
92.65
9)ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษา/ส่งต่อ(เท่ากับ 100)
98
98
100.00

หัวข้อ5.การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ
ตัวชี้วัด กระทรวง
เป้าหมาย
ผลงาน
ร้อยละ
1) ร้อยละของผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดัน เท่ากับ 90
822
714
86.86
2)ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ(มากกว่า หรือเท่ากับ 31)
4
4
100.00
3) ร้อยละของผู้สูงอายุ ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ (ไม่น้อยกว่า 80)
822
714
86.86
4)ร้อยละของคลินิกผู้สูงอายุ ผู้พิการคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70)
1
1
100.00




หัวข้อ6.สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด กระทรวง
เป้าหมาย
ผลงาน
ร้อยละ
1. ร้อยละของสถานบริการสุขภาพปลอดบุหรี่ (เท่ากับ 100)
1
1
100.00
2. ร้อยละของโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม (ควบคุมน้ำหวานและขนมกรุบกรอบ) (ไม่น้อยกว่า75)
6
5
83.33
3. ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้รับมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด(เท่ากับ 91)
-
-
-
4. ร้อยละของสถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (เท่ากับ 92)
-
-
-
5. ร้อยละของผู้ประกอบการอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (primaryGMP) ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย (ไม่น้อยกว่า 70)
1
1
100.00
6.อัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ 0.12 ต่อปี
0
0
7.อัตราตายด้วยโรควัณโรคน้อยกว่า ร้อยละ 5
0
0

หัวข้อ7.ความรอบรู้ด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด กระทรวง
เป้าหมาย
ผลงาน
ร้อยละ
1. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีการปรับพฤติกรรม3 2 ส และลดเสี่ยง (ไม่น้อยกว่า 50)
4,555
2,544
55.85

ประเด็นที่ 2  การพัฒนาระบบบริการ สุขภาพ
หัวข้อ 8.การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ตัวชี้วัด กระทรวง
เป้าหมาย
ผลงาน
ร้อยละ
(210) ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน (เท่ากับ 14)
5,396
687
12.84




หัวข้อ9.การจัดการด้านการแพทย์และสาธารณสุข    ฉุกเฉิน
ตัวชี้วัด กระทรวง
เป้าหมาย
ผลงาน
ร้อยละ
(211) ร้อยละของอำเภอที่มีทีม DMAT, MCATT, SRRT   คุณภาพ (เท่ากับ ๘๐)
1
1
100


หัวข้อ10.การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตัวชี้วัด กระทรวง
เป้าหมาย
ผลงาน
ร้อยละ
(214) ร้อยละของ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น อสม. เชี่ยวชาญ (ไม่น้อยกว่า 48)
129
98
75.97
(215) ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ใช้ SRM หรือเครื่องมืออื่นๆในการทำแผนพัฒนา (ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25)
14
14
100.00

ประเด็นที่ การบริหารจัดการ ระบบสุขภาพ
หัวข้อที่ 11 การบริหารการเงินการคลังระดับจังหวัด
ตัวชี้วัด กระทรวง
เป้าหมาย
ผลงาน
ร้อยละ
ตัวชี้วัดที่  ๓๐๑ ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีปัญหาทางการเงินลดลง   (ไม่น้อยกว่า ๕๐)
1
1
100.00
ตัวชี้วัดที่ ๓๐๒ ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีข้อมูลต้นทุนของหน่วยบริการที่ครบถ้วน (ร้อยละ๕๐)
1
1
100.00
ตัวชี้วัดที่ ๓๐๓ ร้อยละของหน่วยบริการมีฐานข้อมูลต้นทุนพื้นฐาน(มีและใช้โปรแกรมต้นทุนมาตรฐาน)(ร้อยละ๘๐)
1
1
100.00
ตัวชี้วัดที่ ๓๐๔ ร้อยละของหน่วยบริการที่มีและใช้แผน (๓แผน)ตามระบบการจัดการควบคุมภายใน(ร้อยละ๙๐)
1
1
100.00


ภารกิจที่2. การตรวจติดตามภารกิจเฉพาะและ     การตรวจราชการแบบบูรณาการ
ประเด็นที่ การตรวจราชการแบบบูรณาการ
หัวข้อ12.การป้องกันและแก้ไขปัญหา   ยาเสพติด
ตัวชี้วัด กระทรวง
เป้าหมาย
ผลงาน
ร้อยละ
1. ผู้ผ่านการบำบัดฯ ไม่กลับไปเสพซ้ำ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
18
18
100

ประเด็นที่ การตรวจติดตาม  ภารกิจเฉพาะ
ตัวชี้วัด กระทรวง
เป้าหมาย
ผลงาน
ร้อยละ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
 1
 100